Free Cursors
WIPADA ED50105010137: August 2010

WIPADA ED50105010137

You are my destiny

Wednesday, August 25, 2010

แนะนำงานวิจัยมาตรฐานวิชาชีพครู 9 ข้อ



ผลการใช้โปรแกรมส่งเสริมการเห็นคุณค่าในตนเอง
ด้านบทบาทครูวิจัยและสมรรถนะการวิจัยในชั้นเรียนที่มีต่อนักศึกษาครู
ในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูแบบเต็มรูป

ผู้แนะนำวิจัย
กมลทิพย์ อุดมภ์









การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเสริมสร้างทักษะการปฏิบัติวิชาชีพ
เพื่อพัฒนาผู้เรียนแบบองค์รวม สำหรับครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ผู้แนะนำ
วนิตรา อยู่ยงค์





งานวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารงานบุคคลของผู้บริหารสถานศึกษา

ในสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับมัธยมศึกษา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากรุงเทพมหานคร เขต2

มาตรฐานที่ 6 การบริหารจัดการในห้องเรียน

การสร้างอารมณขันของครู

ความเป็นผู้มีอารมณ์ขัน (Being Humorous)

ครูต้องมีความสามารถในการสอดแทรก

อารมณ์ขันในทางสร้างสรรค์ที่จะทำให้การเรียนการสอนนั้นสนุกสนาน ไม่เคร่งเครียด









Monday, August 16, 2010

เนื้อหาในรายวิชา ศ433 ยุธศาสตร์การจัดการความรู้ ต่อ

รูปแบบของการเรียนรู้
ระดับที่ 1 การเรียนรู้ข้อเท็จจริง (Learning to be facts)
ระดับที่ 2 การเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะ (Learning to be skills)
ระดับที่ 3 การเรียนรู้เพื่อการปรับปรุง (Learning to adapt)
ระดับที่ 4 การเรียนรู้เพื่อเรียนรู้ (Learning to learn)
- วัฒนธรรมการเรียนรู้
- มุ่งอนาคต
- แลกเปลี่ยนข้อมูล
- มุ่งเรียนรู้เพื่อพัฒนา
- คุณค่าของบุคคล
- บรรยากาศเปิดและไว้วางใจ
- เรียนรู้จากประสบการณ์


มาตราฐานความรู้วิชาชีพครู
มาตรฐานที่ 1 ภาษาและเทคโนโลยี
ครูจะต้องให้ภาษาที่มีความถูกต้อง สามารถใช้เทคโนโลยีเป็นส่วนประกอบในการเรียนการสอน
มาตรฐานที่ 2 การพัฒนาหลักสูตร
สถานศึกษาจะต้องมีเป้าหมายเป็นของตนเองที่จะเป็นจุดยืนในจัดแนวทางการจัดการเรียนรู้ของครูในโรงเรียน
มาตรฐานที่ 3 การจัดการเรียนเรียนรู้
ครุจะต้องจัดการเรียนรู้ให้ตรงกับเป้าหายของสถานศึกษาและเพื่อให้นักเรียนสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเต็มตามศักยภาพ
มาตรฐานที่ 4 จิตวิทยาสำหรับครู
ครูจะต้องเข้าใจว่านักเรียนแต่ละคนจะมีความแตกต่างกัน

มาตรฐานที่ 5 การวัดละประเมินผลการศึกษา
ครูจะต้องใช้วิธีการวัดและประเมินผลด้วยวิธีและเครื่องมือที่หลากหลาย

มาตรฐานที่ 6 การบริหารจัดการในห้องเรียน
ครูจะต้องจัดสถานที่ให้เหมาะสม วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนการสอนต้องเพียงพอ เป็นต้น
มาตรฐานที่ 7 การวิจัยทางการศึกษา
ครูจะต้องมีการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อที่จะเป็นการพัฒนาการเรียนการสอนหรือเป็นการหาทาง แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นภายในชั้นเรียน
มาตรฐานที่ 8 นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
ครูจะต้องมีการทำสื่อเพื่อใช่เป้ฯส่วนหนึ่งในกรเรียนการสอนเพื่อให้นักเรียนสามารถเข้าใจในบทเรียนมากยิ่งขึ้น
มาตรฐานที่ 9 ความเป็นครู
พื้นฐานของความเป็นครูนั้นจะต้องมีความรู้ และเป็นแบบอย่างที่ดีให้กับนักเรียนได้



กุญแจสู่ความสำเร็จของ KM

1. ผู้นำ
หมายถึง ผู้เริเริ่ม การกำหนด ทุกคนสามารถเชื่อผู้นำได้ เช่น ในโรงเรียนผู้อำนวยการเป็นผู้กำหนดนโยบาย
2. วัฒนธรรมขององค์กร
หมายถึง เปรียบเสมือนภูเขาน้ำแข็ง คือมีส่วนที่มองเห้นและมองไม่เห็น
มองเห็น – กิจกรรม, การจัดการ มองไม่เห็น – ความเชื่อ ความศรัทธา
3. ระบบการจัดการ – เช่นคอมพิวเตอร์, เอกสาร
4. ทรัพยากร
5. ทีมงาน
6. ประชามติ – ความเห็นพ้อง, การยอมรับร่วมกัน



ปัจจัยในการจัดการกลยุทธ์และการปฏิบัติการ (m)
1. Money – เงิน
2. Men – บุคลากร
3. Manage - การจัดการ
4. Material - วัสดุอุปกรณ์
5. Motivation - แรงบันดาลใจ
6. Method - แผนการ
7. Multimedia - มัลติมีเดีย
8. Message - การสื่อสาร
9. Memory - ความจดจำ
10. Move – ปลี่ยนแปลง, เคลื่อนไหว
11. Map - แผนที่
12. Moral – คุณธรรม, จริยธรรม
13. Minute - เวลา

กระบวนการจัดการความรู้



กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)




กระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)
เป็นกระบวนการแบบหนึ่งที่จะช่วยให้องค์กรเข้าใจถึงขั้นตอนที่ทำให้เกิดกระบวนการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ดังนี้
1) การบ่งชี้ความรู้ – เช่นพิจารณาว่า วิสัยทัศน์/ พันธกิจ/ เป้าหมาย คืออะไร

และเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย เราจำเป็นต้องรู้อะไร , ขณะนี้เรามีความรู้อะไรบ้าง,
อยู่ในรูปแบบใด, อยู่ที่ใคร
2) การสร้างและแสวงหาความรู้ – เช่นการสร้างความรู้ใหม่,

แสวงหาความรู้จากภายนอก, รักษาความรู้เก่า, กำจัดความรู้ที่ใช้ไม่ได้แล้ว
3) การจัดความรู้ให้เป็นระบบ - เป็นการวางโครงสร้างความรู้

เพื่อเตรียมพร้อมสำหรับการเก็บความรู้ อย่างเป็นระบบในอนาคต
4) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ – เช่นปรับปรุงรูปแบบเอกสารให้เป็นมาตรฐาน,

ใช้ภาษาเดียวกัน, ปรับปรุงเนื้อหาให้สมบูรณ์
5) การเข้าถึงความรู้ – เป็นการทำให้ผู้ใช้ความรู้นั้นเข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT), Web board ,

บอร์ดประชาสัมพันธ์ เป็นต้น
6) การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ – ทำได้หลายวิธีการ โดยกรณีเป็น Explicit Knowledge อาจจัดทำเป็น เอกสาร, ฐานความรู้, เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือกรณีเป็น Tacit Knowledge อาจจัดทำเป็นระบบ ทีมข้ามสายงาน, กิจกรรมกลุ่มคุณภาพและนวัตกรรม, ชุมชนแห่งการเรียนรู้, ระบบพี่เลี้ยง, การสับเปลี่ยนงาน, การยืมตัว, เวทีแลกเปลี่ยนความรู้ เป็นต้น
7) การเรียนรู้ – ควรทำให้การเรียนรู้เป็นส่วนหนึ่งของงาน

เช่นเกิดระบบการเรียนรู้จาก สร้างองค์ความรู้>นำความรู้ไปใช้>เกิดการเรียนรู้และประสบการณ์ใหม่ และหมุนเวียนต่อไปอย่างต่อเนื่อง


Wednesday, August 11, 2010

เนื้อหาในรายวิชา ศ433 ยุธศาสตร์การจัดการความรู้

วิธีสอน/กิจกรรม

-active learning
-concept mapping learning
-brain based learning
-field based learning


จุดประสงค์การเรียนรู้

-เรียนรู้
-ริเริ่ม
-รับวัฒนธรรมการเรียนรู้และการตัดสินใจ
-เร่งรัด
-ร่วมมือ

การจัดการความรู้ในเชิงกลยุทธ์

สร้างสรรค์ สื่อสาร สำเร็จ
AIM – เป้าหมาย
ADAPT – ประยุกต์, ปรับปรุง, พัฒนา


วิธีสอน/กิจกรรม

1. ACTIVE LEARNING --
คือกระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้ลงมือกระทำและได้ใช้กระบวน การคิดเกี่ยวกับสิ่งที่เขาได้กระทำลงไป (ไปลงภาคสนาม)
2. CONCEPT MAPPING LEARNING --
การเรียนรู้แบบแผนผังความคิด คือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนออกแบบแผนผังความคิด เพื่อนำเสนอความคิดรวบยอด
3. FIELD BASED LEARNING --
การเรียนรู้ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ห้องสมุด หรือห้องคอมพิวเตอร์
4. BRAIN BASED LEARNING --
การใช้ความรู้ความเข้าใจที่เกี่ยวข้องกับสมองเป็นเครื่องมือในการออกแบบ กระบวนการเรียนรู้และกระบวนการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อสร้างศักยภาพสูงสุดในการเรียนรู้ของมนุษย์


ฟังเพลง Wake Up
Powered by you2play.com